วันพฤหัสบดีที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2561

สัปดาห์ที่16

↝กิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน↜


















💓💓💓💓💓💓💓💓💓💓💓💓💓

สัปดาห์ที่15



🍧คำถามท้ายบท1-7🍧
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ สงสัย การ์ตูน



  😶คำถามท้ายบทที่1😶 
1.เมื่อนักศึกษาได้ศึกษาแนวคิดการออกแบบการเรียนการสอนในบทที่1 ท่านคิดว่าการออกแบบการเรียนการสอนมีความสำคัญต่อนักเรียนครูผู้สอนและสถานศึกษาอย่างไรจงอธิบายให้เหตุผลที่สอดคล้องกัน
ตอบ  มีความสำคัญเพราะการออกเเบบการเรียนการสอนถือว่าเป็นกระบวนการเรียนการสอน โดยมีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือเงือนไขในการเรียนการสอนบรรลุเป้าหมายโดยอาศัยความรู้จากหลากหลายทฤาฎี เช่น ทฤษฏี การเรียนรู้ ทฤษกีการเรียนการสอน ทฤษฎีการติดต่อสื่อสาร ตลอดจนทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์

2.ท่านคิดว่าการเรียนการสอนแบบดั้งเดิมและการเรียนการสอนเชิงระบบมีข้อดีและข้อเสียอย่างไรจงอธิบายให้เหตุผลสนับสนุนคำตอบ
ตอบ       ครูสมัยใหม่                                                                          ครูสมัยเก่า
1. สอนนักเรียนโดยวิธีบูรณาการเนื้อหาวิชา                                 1. สอนแยกเนื้อหาวิชา
2. แสดงบทบาทในฐานะผู้แนะนำประสบการณ์การศึกษา       2. มีบทบาทในฐานะตัวแทนของเนื้อหาวิชา
3. กระตือรือร้นในบทบาท ความรู้สึกของ นักเรียน                  3. ละเลยเฉยเมยต่อบทบาทของนักเรียน
4. ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการวางแผนของหลักสูตร             4. นักเรียนไม่มีส่วนร่วมแม้แต่จะพูดเกี่ยวกับหลักสูตร
5. ใช้เทคนิคการค้นพบด้วนตนเองของ นักเรียนเป็นกิจกรรมหลัก    5. ใช้เทคนิคการเรียน โดยการท่องจำเป็น หลัก
6. มีการเสริมแรงหรือให้รางวัลมากกว่าการลงโทษมีการใช้แรงจูงใจภายใน     6. มุ่งเน้นการให้รางวัลภายนอก เช่น เกรดแรงจูงใจภายนอก
7. ไม่เคร่งครัดกับมาตรฐานทางวิชาการจนเกินไป               7. เคร่งครัดกับมาตรฐานทางวิชาการมาก
8. มีการทดสอบเล็กน้อย                                                      8. มีการทดสอบสม่ำเสมอเป็นระยะ ๆ
9. มุ่งเน้นการทำงานเป็นกลุ่มแบบร่วมใจ                             9. มุ่งเน้นการแข่งขัน
10. สอนโดยไม่ยึดติดกับห้องเรียน                                     10. สอนในขอบเขตของห้องเรียน
11. มุ่งสร้างสรรค์ประสบการณ์ใหม่ให้นักเรียน                     11. เน้นย้ำประสบการณ์ใหม่เพียงเล็กน้อย
12. มุ่งเน้นความรู้ทางวิชาการและทักษะด้าน จิตพิสัยเท่าเทียมกัน        12. มุ่งเน้นความรู้ทางวิชาการเป็นสำคัญ ละเลย

3.จงเขียนภาพรวมของเนื้อหาสาระสำคัญบทที่1และแนวคิดการออกแบบการเรียนการสอนให้อยู่ในรูปแบบของผังความคิด(mind mapping)โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอเนื้อหาให้สมบูรณ์ที่สุด
  😂คำถามท้ายบทที่2 😂
1.จากเนื้อหาในบทที่สองวิธีการสอนและการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเราจะเห็นได้ว่ามีวิธีการสอนและรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญที่หลากหลาย ท่านคิดว่าวิธีการสอนแบบใดที่มีความน่าสนใจต่อตัวท่านมากที่สุดสามอันดับแรกเพราะเหตุใดจงอธิบายและให้เหตุผล
ตอบ   1.การสอนแบบโดยการทำลอง เพราะ มีการได้ลงมือปฎิบัติจริงเเล้วนักเรียนมีส่วนร่วม
            2.การสอนเเบบใช้เกมส์ เพราะ มีความน่าตื่นเต้นตลิดเวลาไม่น่าเบื่อ
            3. การบบสสอนเเถานการณ์จำลอง เพราะ ทำให้เหมือนผู้เรียนรู้สึกว่าอยู่ในสถานการณ์จริง

2.ท่านคิดว่าวิธีการสอนและการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมีความสำคัญและประโยชน์ต่อนักเรียนครูผู้สอนสถานศึกษาของไทยอย่างไรจงอธิบายและให้เหตุผลที่สอดคล้องกัน
ตอบ   มีประโยชน์มาก เพราะทำให้ผู็เรียนสามารถรับรู้สิ่งที่ถนัด สนใจ เข้าใจตนเองมากที่สุด ให้การรับรู้การสื่อสารเต็มประสิธิภาพมากที่สุดและมีการพัฒนาตนเองอยู่สม่ำเสมอ

3.ทรงเกียรติภาพรวมของเนื้อหาสาระสำคัญของบทที่สองเรื่องอีการสอนและการจัดการผู้เรียนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญอยู่ในรูปแบบของผังความคิด(mind mapping)โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอเนื้อหาให้สมบูรณ์ที่สุด
ตอบ    https://drive.google.com/open?id=1ZWtsJovmTP64TWLQSoH4JszyvToNyHp9


  😅คำถามท้ายบทที่3😅
1. จากการศึกษาเนื้อหาในบทที่สามเรื่องรูปแบบการเรียนการสอนจะพบว่ามีรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายเป็นอย่างมากท่านคิดว่ารูปแบบการเรียนการสอนแบบใดที่มีความน่าสนใจในการพัฒนาการเรียนการสอนมากที่สุดสามอันดับแรกเพราะเหตุใดจงอธิบายและให้เหตุผลสนับสนุนคำตอบ
ตอบ     รูปแบบการสอนแบบสากล
            1. รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้านพุทธิพิสัย(cognitive domain)
             เพราะ มีการคิด การคำนวน มีความคิดสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆเสมอ
            2. รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้านจิตพิสัย(affective domain)
             เพราะ มีการกระทำทางด้านจิต คิดวิเคราห์ทำแต่สิ่งที่ถูกต้องและดีงาม
            3. รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้านทักษะพิสัย(psycho-motor domain)
             เพราะ  มีการพัฒนาด้านพฤติกรรมของตนเองอยู่สม่ำเสมอ ไม่อยู่กับที่

2.จงหาตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้จำนวนหนึ่งแผนที่ได้แนวทางการจัดการเรียนรู้การสอนตามรูปแบบการสอนแบบต่างๆที่ปรากฏในเนื้อหาบทที่สามโดยค้นหาและดาวน์โหลดจากงานวิจัยตามฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ออนไลน์หรือแหล่งสืบค้นวิทยานิพนธ์ตามเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยภายในประเทศเช่นมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยสารคามเป็นต้นแล้วนำมาเสนอหน้าชั้นเรียน
ตอบ         
                http://www.rpu.ac.th/Library_web/doc/RC_RR/2553_M.Ed_Pithplern-Wichit.pdf

3.จงเขียนภาพรวมของเนื้อหาสาระสำคัญบทที่สามเรื่องรูปแบบการเรียนการสอนให้อยู่ในรูปแบบของผัง ความคิด(mind mapping)โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอเนื้อหาให้สมบูรณ์ที่สุด
ตอบ        https://drive.google.com/open?id=1sddlW4vfGEqGS7CZbM561QAKmO1yBByV 

  😬คำถามท้ายบทที่4😬
1. ในฐานะที่ท่านเป็นผู้ออกแบบการเรียนการสอนท่านคิดว่ากลยุทธ์การเรียนการสอนมีประโยชน์ต่อตัวท่านและผู้อื่นอย่างไรจงอธิบายและให้เหตุผลสนับสนุน
ตอบ      กลยุทธ์การเรียนการสอนมีประโยชน์ต่อครูผู้สอน คือ สามารถนำไปใช้ในการนำเสนอเนื้อหาวิชาให้กับผู้เรียนเเละเกิดประสิทธิภาพต่อผู้เรียน ทำให้การเรียนการสอนมีความน่าสนใจมากขึ้นเเละการเรียนการสอนประสบผลสำเร็จอย่างรวดเร็ว
           กลยุทธ์การเรียนการสอนมีประโยชน์ต่อผู้เรียน คือ ทำให้ผู้เรียนได้รับการเรียนรู้ที่รวดเร็ว เข้าใจง่ายเเละเกิดผลประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน

2.จงเขียนภาพรวมของเนื้อหาสาระสำคัญบทที่สี่เรื่องกลยุทธ์การเรียนการสอน ให้อยู่ในรูปแบบผังความคิด(mind mapping)โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอเนื้อหาให้สมบูรณ์ที่สุด
ตอบ    https://drive.google.com/open?id=1BiY3WLibF60yjlNYHcW3QKvrR2pH2aNg


  😒คำถามท้ายบทที่5😒
1.ตามความเข้าใจของท่านการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมีความหมายว่าอย่างไรและเหตุผลใดในการปฏิรูปการศึกษาจึงให้ความสำคัญกับการจัดการเรียนรู้ดังกล่าว
ตอบ        การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ คือ วิธีการสำคัญที่สามารถสร้างและพัฒนาผู้เรียน ให้เกิดคุณลักษณะต่างๆ ที่ต้องการในยุคโลกาภิวัตน์เนื่องจากเป็นการจัดการเรียนการสอนที่ให้ความ สำคัญกับผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักเรียนรู้ด้วยตนเอง เรียนในเรื่องที่สอดคล้องกับความสามารถและความต้องการของตนเองและได้พัฒนา ศักยภาพของตนเองอย่างเต็มที่ ซึ่งแนวคิดการ จัดการศึกษานี้เป็นแนวคิดที่มีรากฐานจากปรัชญาการศึกษาและทฤษฎีการเรียนรู้ ต่าง ๆ ที่ได้พัฒนามาอย่าง ต่อเนื่องยาวนาน และเป็นแนวทางที่ได้รับการพิสูจน์ว่าสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะตาม ต้องการอย่างได้ผล 

2.จากตัวอย่างของวิธีการสอนตามเส้นทางดำเนินเรื่องในหน้า230-231ในหัวข้อเรื่องป่าไม้ท่านคิดว่าผู้เรียนจะพัฒนาตนเองในด้านใดบ้างที่จะสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญจงอธิบายและให้เหตุผล
ตอบ      1.เทคนิคการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง
ในการเรียนตามทฤษฎี Constructionism ผู้เรียนจะมีบทบาทเป็นผู้ปฎิบัติและสร้างความรู้ไปพร้อมๆกันด้วยตัวของเขาเอง(ทำไปและเรียนรู้ไปพร้อมๆกัน) ซึ่งผู้เรียนจะได้เรียนรู้เเละพัฒนาความคิดด้วยตนเองทำให้เกิดการเรียนรู้ที่คงทน
            2.เทคนิคการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ทำงานร่วมกับคนอื่น
ผู้เรียนได้เรียนรู้ร่วมกัน เป็นการจัดการเรียนการสอนที่แบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มย่อยๆ กลุ่มละ 4-5 คน โดย  สมาชิกในกลุ่มมีระดับความสามารถแตกต่างกัน สมาชิกทุกคนมีบทบาทหน้าที่ร่วมกันในการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย มีเป้าหมายและมีโอกาสได้รับรางวัลของความสำเร็จร่วมกัน วิธีการแบบนี้ผู้เรียนจะมีโอกาสสร้างปฏิสัมพันธ์ร่วมกันในเชิงบวก มาปฏิสัมพันธ์แบบเผชิญหน้ากัน ได้มีโอกาสรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายจากกลุ่ม ได้พัฒนาทักษะทางสังคมและได้ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานเพื่อสร้างความรู้ให้กับตนเอง
            3. เทคนิคการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
ผู้สอนสามารถจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนประยุกต์ใช้ความรู้ได้โดยสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนต้องแก้ปัญหาและนำความรู้ที่เรียนมาประยุกต์ใช้ หรือให้ผู้เรียนแสดงความรู้นั้นออกมาในลักษณะต่างๆ

3.จงเขียนภาพรวมของเนื้อหาสาระสำคัญของบทที่ห้าเรื่องการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาให้อยู่ในรูปแบบผังความคิด(mind mapping)โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอเนื้อหาให้สมบูรณ์ที่สุด
ตอบ     https://drive.google.com/open?id=14HScesp-SfbrzagLnoHVRewQe3mn5gox


  😌คำถามท้ายบทที่6😌
1.สื่อการเรียนการสอนคืออะไรมีประโยชน์อย่างไรท่านเคยมีความประทับใจจากที่ได้รับประสบการณ์เรียนรู้ในวิชาที่มีสื่อการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพหรือไม่และผู้สอนใช้สื่อการเรียนการสอนนั้นอย่างไรจงอธิบาย
ตอบ      เป็นตัวช่วยทำให้เด็กสนใจในเนื้อหามากขึ้นและพร้อมที่จะเรียนรู็ไปพร้อมๆกับผู้สอน  ประทับใจคือเด็กชอบสื่อการสอนที่เราทำและเล่นไปพร้อมได้ความรุ้ที่นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ มีประสิทธิภาพปานกลาง โดยใช้แบบFunny boxที่จะติดคำศัพท์ไว้แล้วเล่นแบบลูกเต๋า

2.หากท่านมีโอกาสได้จัดการเรียนการสอนเรื่อง"อาหารพื้นเมืองอีสาน"ให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5ท่านจะใช้สื่อการเรียนการสอนอะไรบ้างเพราะเหตุใดจงอธิบาย
ตอบ       จัดสื่อคล้ายงานโอเพ้นเฮ้าส์ จัดบูทกิจกรรมต่างเพื่อให้ความรู้และให้ผึกปฎิบัติจากสถานการณ์จริง เพื่อดึงความสนในไม่น่าเบื่อในการเรียนรู้

3.จงเขียนภาพรวมของเนื้อหาสาระสำคัญบทที่หกเรื่องการเลือกและพัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้อยู่ในรูปแบบผังความคิด(mind mapping)โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอเนื้อหาให้สมบูรณ์ที่สุด
ตอบ        https://drive.google.com/open?id=16DpPnbvwQjtRSNllsceZjdO-9YooxIX8


  😭คำถามท้ายบทที่7😭
1.จากการศึกษาข้อมูลในบทที่เจ็ดท่านคิดว่าการวางแผนการเรียนการสอนและแผนการจัดการเรียนรู้นั้นมีความยากหรือง่ายเพียงใดและขั้นตอนการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้สำหรับตัวท่านแล้วขั้นตอนใดมีความยากง่ายที่สุดในการพัฒนาสามอันดับแรกเพราะเหตุใดจงอธิบาย
ตอบ    การวางเเผนการเขียนแผนการสอนเเละแผนการจัดการเรียนรู้นั้นมีความยาก/ความง่ายเเตกต่างกันไปแล้วเเต่ละรายวิชา ซึ่งจะยากในการวางเเผนการเขียนแผนการสอนเเละแผนการจัดการเรียนรู้ในสอกคล้องกับวัตถุประสงค์ที่เราต้องการ ซึ่งขั้นตอนที่มีความยาก/ง่าย มีดังนี้

  • 1. ศึกษาวิเคราะห์หลักสูตร ได้แก่ หลักการ จุดหมาย โครงสร้าง เวลาเรียนแนวดำเนินการในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ตอบสนองจุดประสงค์การเรียนรู้ และจุดมุ่งหมายของหลักสูตร การวัดและการประเมินการเรียน คำอธิบายในแต่ละกลุ่มประสบการณ์ ซึ่งระบุเนื้อหาที่ต้องให้นักเรียนได้เรียน ตามลำดับขั้นตอนกระบวนการที่ต้องให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติ และจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ต้องการให้เกิดการเรียนรู้ เพราะถ้าเราวิเคราะห์หลักสูตรผิดจะส่งผลต่อการวางเเผนการเขียนแผนการสอนเเละแผนการจัดการเรียนรู้ทั้งหมด
  • 2. ลำดับความคิดรวบยอดที่จัดให้นักเรียนแต่ละระดับชั้นได้เรียนรู้ก่อนหลัง โดยพิจารณาขอบข่ายเนื้อหา และกิจกรรมที่กำหนดไว้ในคำอธิบายรายวิชา เพราะเ็นความคิดที่ผู้เรียนจะต้องได้รับเมื่อเรียนจบ
  • 3. กำหนดกิจกรรมการเรียนการสอนตามลำดับขั้นตอนที่กำหนดไว้ในคำอธิบายรายวิชา หรืออาจพิจารณาจากกิจกรรมที่เหมาสมกับเนื้อหาสาระ เป็นขั้นที่ผู้เรียนจะได้เรียนรู้จึงต้องมีการวางเเผนที่ดีเเละรัดกุม

2.ในประโยคที่ว่า"ในปัจจุบันการวัดผลไม่ใช่เพียงการทดสอบการสอบอย่างเดียวแต่ยังต้องประเมินผลสภาพแท้จริงของผู้เรียน"สำหรับท่านประโยคนี้มีความหมายว่าอย่างไรและมีวิธีการปฏิบัติจริงได้อย่างไร
ตอบ      การวัดและประเมินตามสภาพจริง คือ กระบวนการวัดผลการเรียนรู้ตามแนวทาง 3 ประการ คือ
1.  วัดครบถ้วนตามจุดประสงค์การเรียนรู้ได้จริง
  -วัดความสามารถทางความรู้ ความคิดได้จริง
-วัดความสามารถในการปฏิบัติได้จริง
-วัดคุณลักษณะทางจิตใจได้จริง
         2.  วัดได้ตรงความเป็นจริง คือ สิ่งที่วัดได้นั้นเป็นข้อมูล เป็นการแสดงพฤติกรรมที่สะท้อนความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียน  ทั้งความสามารถทางความรู้  ความคิด  ความสามารถในการปฏิบัติและคุณลักษณะทางจิตใจ  มีความคลาดเคลื่อนผิดพลาดน้อยที่สุด  ไม่เปิดโอกาสให้ผู้ด้อยความสามารถได้คะแนนสูง  ตัดความผิดพลาดที่ผู้มีความสามารถสูงกลับได้คะแนนน้อย
สามารถประเมินสภาพเเท้จริงของผู้เรียนโดยการสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนจารการเรียนโดยไม่มีการบิดเบือนข้อมูล

3.ทรงเกียรติภาพรวมของเนื้อหาสาระสำคัญของบทที่เจ็ดเรื่องการวางแผนการเขียนแผนการสอนและแผนการจัดการเรียนรู้ ให้อยู่ในรูปแบบผังความคิด(mind mapping)โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอเนื้อหาให้สมบูรณ์ที่สุด
ตอบ      https://drive.google.com/open?id=1AO2x16gjORpnL4hlPn_RsSu1U-c9Dikh





สัปดาห์ที่14



                       
แผนการจัดการเรียนรู้
โรงเรียน:ท่าหนามแก้วสวนกล้วย      สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2
      รหัส: 14101          รายวิชา: ภาษาอังกฤษพื้นฐาน      กลุ่มสาระการเรียนรู้: ภาษาต่างประเทศ   
     หน่วยการเรียนรู้: 6         ชื่อหน่วยการเรียนรู้: My Foods       จำนวน: 6 ชั่วโมง
    เรื่อง: My Foods (Lesson1)         จำนวน: 2 ชั่วโมง             ชั้น: ประถมศึกษาปีที่1                
 ชื่อผู้สอน: นางสาว อภิชญา  ไกรษร        วันที่ 16  เดือน พฤษภาคม  ..2561
1.มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
      มาตรฐาน ต 1.1  เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆและแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล
      ตัวชี้วัด ต 1.1  ป.1 เลือก/ระบุภาพหรือสัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายตรงตามความหมายของประโยค และข้อความสั้นๆ  ที่ฟังหรืออ่าน
2.สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
      การเรียนรู้คำศัพท์เกี่ยวกับอาหาร โครงสร้างประโยค Do you like…….? Yes,  I do. / No, I don’t. ทำให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการพูดขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับอาหารที่ชอบหรือไม่ชอบได้  ซึ่งเป็นการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ เพื่อนำไปใช้สื่อสารในชีวิตประจำวัน
3.สมรรถนะที่สำคัญ
    1.ความสามารถในการสื่อสาร
    2.ความสามารถในการคิด
    3.ความสามรถในการแก้ปัญหา
4.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
     1.ซื่อสัตย์ สุจริต
     2. มีวินัย
     3. ใฝ่เรียนรู้
     4. มุ่งมั่นในการทำงาน
5.วัตถุประสงค์
     1.เพื่อให้ผู้เรียนอ่านออกเสียง สะกดคำศัพท์ และบอกความหมายคำศัพท์เกี่ยวกับอาหารได้
     2.เพื่อให้ผู้เรียนพูดบอกเกี่ยวกับอาหารที่ตนเองชอบได้
     3.เพื่อให้ผู้เรียนพูดสนทนาถาม-ตอบเกี่ยวกับอาหารที่ชอบได้
     4.เพื่อให้ผู้เรียนออกเสียงคำศัพท์ที่ลงท้ายด้วย /k/ ได้
6.สาระการเรียนรู้
     ด้านความรู้(K)
     1. ออกเสียงคำศัพท์และประโยคได้ถูกต้อง
     2. อ่านและเขียนคำศัพท์และประโยคได้ถูกต้อง
     3. พูดประโยคคำถาม บอกเล่า ปฏิเสธเกี่ยวกับอาหารได้
    ด้านทักษะ(P)
     1. ฟัง/อ่าน คำศัพท์ ประโยค ข้อความ
     2. พูดถาม-ตอบและให้ข้อมูลได้
     3. เขียน/สะกด คำศัพท์ ประโยคเกี่ยวกับอาหารได้
    ด้านคุณลักษณะ(A)
    1. มีความขยันและสนใจในการเรียน
    2.ตรงต่อเวลา มีส่วนร่วมในกิจกรรม
    3.มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนภาษาอังกฤษ
7.ชิ้นงาน/ภาระงาน
    แบบฝึกหัดก่อนเรียนเรื่อง My Foods 15ข้อ
    แบบฝึกหัดหลังเรียนเรื่อง My Foods 15ข้อ
    ใบงานเติมอักษรของคำศัพท์9ข้อ
    ใบงานโยงคำศัพท์ให้เข้ากับภาพ 8 ข้อ
    ใบงานเติมศัพท์ให้เข้ากับภาพ
8.กิจกรรมการเรียนรู้
8.1  กิจกรรมนำเข้าสู่บทเรียน(Introduction activities)
         ใช้วิธีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนซิปปาสเตอรี (CIPPA-Story Model) การจัดการเรียนการสอนนี้มาจาก การผสมผสานแนวคิด และหลักการสำคัญ 3 ประการได้แก่ CIPPA Model,  Storyline Approach
          คำว่า CIPPA ตัวแรกอันเป็นที่มาส่วนหนึ่งของชื่อการจัดการเรียนการสอนแบบซิปปาสเตอรี (CIPPA-Story Model) มาจากคำว่า CIPPA Model หลักการนี้ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบสำคัญ ได้แก่
        1. Construct หรือ การสร้างความรู้ตามแนวคิดของ Constructivism ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง
        2. Interaction หรือการปฏิสัมพันธ์หมายถึง ผู้เรียนมีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนสื่อ และสิ่งแวดล้อมรอบตัว
        3. Physical Participation หรือการมีส่วนร่วมทางกาย หมายถึง ผู้เรียนมีโอกาสเคลื่อนไหวร่างกายในการทำกิจกรรมลักษณะต่างๆ
        4.Process Learning หรือการเรียนรู้กระบวนการต่างๆ ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต
        5.Application หรือการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ หมายถึง ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ได้ในสถานการณ์ต่างๆ
ขั้นตอนการสอนตาม CIPPA model
       1.ขั้นการทบทวนความรู้เดิม เป็นการสนทนาซักถามถึงกิจกรรมที่เคยเรียนรู้ หรือพื้นความรู้ของนักเรียนในเรื่องที่จะดำเนินการสอน
       2.ขั้นการแสวงหาความรู้ใหม่ หมายถึง ให้นักเรียนได้รู้จักแหล่งที่จะค้นหาความรู้ เช่น แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนไม่ว่าจะเป็นห้องสมุด สื่อเอกสาร มุมประสบการณ์ต่าง ๆ หรือแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น เช่น ภูมิปัญญา สถานที่สำคัญในชุมชน เป็นต้น
       3.ขั้นการศึกษาทำความเข้าใจข้อมูล/ความรู้ใหม่และเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม เป็นกิจกรรมที่จัดให้ผู้เรียนได้นำความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ามาทำความเข้าใจแล้วใช้  กระบวนการคิดในการประมวลข้อมูลที่รับเข้ามาใหม่กับข้อมูลเดิมทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ หรือสิ่งใหม่
      4.ขั้นการแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนเมื่อได้เรียนรู้แล้ว นำองค์ความรู้นั้นมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อสะท้อนความคิดของตน
      5.ขั้นการสรุปและการจัดระเบียบความรู้ เพื่อให้ผู้เรียนจดจำสิ่งที่เรียนได้ง่าย เป็นกิจกรรมสรุปร่วมกัน โดยสังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้
      6.ขั้นการแสดงผลงาน เป็นกิจกรรมเสนอสิ่งที่เรียนรู้ในรูปของการจัดกิจกรรม
      7.ขั้นการประยุกต์ใช้ความรู้ นำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ หรือเพื่อแก้ปัญหาในสิ่งที่ต้องการคำตอบต่อไป การสอนแบบแผนการสอนแบบ CIPPA
8.2  กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้(Enabling activities)
         ใช้วิธีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนซิปปาสเตอรี (CIPPA-Story Model) การจัดการเรียนการสอนนี้มาจาก การผสมผสานแนวคิด และหลักการสำคัญ 3 ประการได้แก่ CIPPA Model,  Storyline Approach

          คำว่า CIPPA ตัวแรกอันเป็นที่มาส่วนหนึ่งของชื่อการจัดการเรียนการสอนแบบซิปปาสเตอรี (CIPPA-Story Model) มาจากคำว่า CIPPA Model หลักการนี้ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบสำคัญ ได้แก่
        1Construct หรือ การสร้างความรู้ตามแนวคิดของ Constructivism ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง
        2. Interaction หรือการปฏิสัมพันธ์หมายถึง ผู้เรียนมีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนสื่อ และสิ่งแวดล้อมรอบตัว
        3. Physical Participation หรือการมีส่วนร่วมทางกาย หมายถึง ผู้เรียนมีโอกาสเคลื่อนไหวร่างกายในการทำกิจกรรมลักษณะต่างๆ
        4.Process Learning หรือการเรียนรู้กระบวนการต่างๆ ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต
        5.Application หรือการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ หมายถึง ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ได้ในสถานการณ์ต่างๆ
ขั้นตอนการสอนตาม CIPPA model
       1.ขั้นการทบทวนความรู้เดิม เป็นการสนทนาซักถามถึงกิจกรรมที่เคยเรียนรู้ หรือพื้นความรู้ของนักเรียนในเรื่องที่จะดำเนินการสอน
       2.ขั้นการแสวงหาความรู้ใหม่ หมายถึง ให้นักเรียนได้รู้จักแหล่งที่จะค้นหาความรู้ เช่น แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนไม่ว่าจะเป็นห้องสมุด สื่อเอกสาร มุมประสบการณ์ต่าง ๆ หรือแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น เช่น ภูมิปัญญา สถานที่สำคัญในชุมชน เป็นต้น
       3.ขั้นการศึกษาทำความเข้าใจข้อมูล/ความรู้ใหม่และเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม เป็นกิจกรรมที่จัดให้ผู้เรียนได้นำความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ามาทำความเข้าใจแล้วใช้  กระบวนการคิดในการประมวลข้อมูลที่รับเข้ามาใหม่กับข้อมูลเดิมทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ หรือสิ่งใหม่
      4.ขั้นการแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนเมื่อได้เรียนรู้แล้ว นำองค์ความรู้นั้นมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อสะท้อนความคิดของตน
      5.ขั้นการสรุปและการจัดระเบียบความรู้ เพื่อให้ผู้เรียนจดจำสิ่งที่เรียนได้ง่าย เป็นกิจกรรมสรุปร่วมกัน โดยสังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้
      6.ขั้นการแสดงผลงาน เป็นกิจกรรมเสนอสิ่งที่เรียนรู้ในรูปของการจัดกิจกรรม
      7.ขั้นการประยุกต์ใช้ความรู้ นำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ หรือเพื่อแก้ปัญหาในสิ่งที่ต้องการคำตอบต่อไป การสอนแบบแผนการสอนแบบ CIPPA

8.3  กิจกรรมความคิดรวบยอด(concept activities)
          ใช้วิธีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนซิปปาสเตอรี (CIPPA-Story Model) การจัดการเรียนการสอนนี้มาจาก การผสมผสานแนวคิด และหลักการสำคัญ 3 ประการได้แก่ CIPPA Model,  Storyline Approach

          คำว่า CIPPA ตัวแรกอันเป็นที่มาส่วนหนึ่งของชื่อการจัดการเรียนการสอนแบบซิปปาสเตอรี (CIPPA-Story Model) มาจากคำว่า CIPPA Model หลักการนี้ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบสำคัญ ได้แก่
        1Construct หรือ การสร้างความรู้ตามแนวคิดของ Constructivism ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง
        2. Interaction หรือการปฏิสัมพันธ์หมายถึง ผู้เรียนมีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนสื่อ และสิ่งแวดล้อมรอบตัว
        3. Physical Participation หรือการมีส่วนร่วมทางกาย หมายถึง ผู้เรียนมีโอกาสเคลื่อนไหวร่างกายในการทำกิจกรรมลักษณะต่างๆ
        4.Process Learning หรือการเรียนรู้กระบวนการต่างๆ ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต
        5.Application หรือการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ หมายถึง ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ได้ในสถานการณ์ต่างๆ
ขั้นตอนการสอนตาม CIPPA model
       1.ขั้นการทบทวนความรู้เดิม เป็นการสนทนาซักถามถึงกิจกรรมที่เคยเรียนรู้ หรือพื้นความรู้ของนักเรียนในเรื่องที่จะดำเนินการสอน
       2.ขั้นการแสวงหาความรู้ใหม่ หมายถึง ให้นักเรียนได้รู้จักแหล่งที่จะค้นหาความรู้ เช่น แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนไม่ว่าจะเป็นห้องสมุด สื่อเอกสาร มุมประสบการณ์ต่าง ๆ หรือแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น เช่น ภูมิปัญญา สถานที่สำคัญในชุมชน เป็นต้น
       3.ขั้นการศึกษาทำความเข้าใจข้อมูล/ความรู้ใหม่และเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม เป็นกิจกรรมที่จัดให้ผู้เรียนได้นำความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ามาทำความเข้าใจแล้วใช้  กระบวนการคิดในการประมวลข้อมูลที่รับเข้ามาใหม่กับข้อมูลเดิมทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ หรือสิ่งใหม่
      4.ขั้นการแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนเมื่อได้เรียนรู้แล้ว นำองค์ความรู้นั้นมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อสะท้อนความคิดของตน
      5.ขั้นการสรุปและการจัดระเบียบความรู้ เพื่อให้ผู้เรียนจดจำสิ่งที่เรียนได้ง่าย เป็นกิจกรรมสรุปร่วมกัน โดยสังเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้
      6.ขั้นการแสดงผลงาน เป็นกิจกรรมเสนอสิ่งที่เรียนรู้ในรูปของการจัดกิจกรรม
      7.ขั้นการประยุกต์ใช้ความรู้ นำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ หรือเพื่อแก้ปัญหาในสิ่งที่ต้องการคำตอบต่อไป การสอนแบบแผนการสอนแบบ CIPPA

9. สื่อ-แหล่งเรียนรู้
ใบความรู้My Foods เกี่ยวกับการใช้do/does    การสร้างประโยค   รูปภาพที่มาพร้อมศัพท์ 
กล่องคำศัพท์Funny box
10. บันทึกหลังการสอน
ความคิดเห็นของผู้สอน
.............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ .......อภิชญาไกรษร..........
(....นางสาว อภิชญา ไกรษร....)
ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระ
..............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ .................................................
(................................................)
ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา
..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ .................................................
(................................................)






ภาคผนวก


                                                                     ใบงานและใบความรู้
👇👇👇





สื่อการสอนFunny box








แบบประเมินพฤติกรรมนักเรียน
 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)

ที่
ชื่อ สกุล
พฤติกรรมที่ประเมิน
รวม
คะแนน
ระดับคุณภาพ
ความขยันใฝ่รู้
 ใฝ่เรียน
มีความรับผิดชอบ
การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
1.ปฏิบัติงานด้วยตนเอง
2. มีควาตั้งใจ/าเรียนสม่ำเส
3.รู้จักศึกษาค้นคว้า
4.งานเสร็จทันเวลา
1.อาสาปฏิบัติกิจกรร
2.ปฏิบัติงานอย่างคล่องแคล่ว
3.มีควาคิดสร้างสรรค์
1.มีควาสนใจในการเรียน
2.ร่วกิจกรรด้วยควาเต็ใจ
3.ร่วกิจกรรด้วยควาสนุกสนาน
3
2
3
2
5
3
2
4
3
3


1













2













3













4













5













6













7













8













9













10













11













12













เกณฑ์การประเมินและระดับคุณภาพ
   คะแนน 80 100  คะแนน    ดีมาก      
   คะแนน 66  79   คะแนน    ดี
   คะแนน 50   65   คะแนน    พอใช้       
   คะแนน  0–  49     คะแนน    ปรับปรุง
จำนวนคนที่ผ่านระดับคุณภาพ......................คน   ร้อยละ...............
จำนวนคนที่ไม่ผ่านระดับคุณภาพ..................คน   ร้อยละ...............
                                                           ลงชื่อ.................................... ผู้ประเมิน



แบบประเมินทักษะทางภาษา 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)

ที่
ชื่อ สกุล
ทักษะที่ประเมิน
                 รวคะแนน
                 ระดับคุณภาพ
การฟัง
การพูด
การอ่าน
การเขียน
1.เข้าใจควาายของคำศัพท์ /ประโยค
2. สรุปเรื่องที่ฟังได้           
1.ออกเสียงคำศัพท์ได้ถูกต้องชัดเจน
2.พูดได้ถูกต้องตรงประเด็น
1.อ่านออกเสียงคำศัพท์/ประโยคถูกต้อง
2.อ่านเว้นวรรคตอน/หยุดได้เหาะส
3.มีทักษะในการอ่าน  
1.เขียนคำศัพท์/ประโยคถูกต้อง 
2.เครื่องหายวรรคตอน/ช่องไฟถูกต้อง
3.มีควาคิดสร้างสรรค์
5
5
5
5
5
3
2
5
3
2


1













2













3













4













5













6













7













8













9













10













11
















 เกณฑ์การประเมินและระดับคุณภาพ
   คะแนน 80  100  คะแนน    ดีมาก      
   คะแนน 66   79   คะแนน    ดี
   คะแนน 50   65   คะแนน    พอใช้       
   คะแนน  0–  49     คะแนน    ปรับปรุง
จำนวนคนที่ผ่านระดับคุณภาพ......................คน   ร้อยละ...............
จำนวนคนที่ไม่ผ่านระดับคุณภาพ..................คน   ร้อยละ...............
                                                           ลงชื่อ.................................... ผู้ประเมิน




แบบประเมินชิ้นงาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)

 
   

ที่
                
               

ชื่อ - สกุล
ประเด็นประเมิน


รวม
  คะแนน






 ระดับคุณภาพ
  1.ควาถูกต้องของ เนื้อหาสาระ
2.  ควาคิดสร้างสรรค์
3. ควาประณีตสวยงา





5
3
2
10
1






2






3






4






5






6






7






8






9






10






11






12









เกณฑ์การประเมินและระดับคุณภาพ
   คะแนน 80 100  คะแนน    ดีมาก      
   คะแนน 66  79   คะแนน    ดี
   คะแนน 50   65   คะแนน    พอใช้       
   คะแนน  0–  49     คะแนน    ปรับปรุง
จำนวนคนที่ผ่านระดับคุณภาพ......................คน   ร้อยละ...............
จำนวนคนที่ไม่ผ่านระดับคุณภาพ..................คน   ร้อยละ...............

                                                           ลงชื่อ.................................... ผู้ประเมิน


บรรณานุกรม
พิจิตรา ธงพานิช. วิชาการออกแบบและการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน. นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย
          ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์, 2560.
Trueplookpanya. แผนการจัดการเรียนรู้my foods. สืบค้นเมื่อ 7 เมษายน 2561. จาก                 http://www.trueplookpanya.com/true/lesson_plan_detail.php?lesson_plan_id=277